Name : A-100(เอ-ร้อย) สารเร่งอัฉริยะสำหรับพืช ดูดซึม 100% ใน 1 นาที
Details : A-100(เอ-ร้อย)เป็นสุดยอดของเทคโนโลยีสมัยใหม่ล่าสุด ผลิตภัณฑ์เพื่อเกษตรไทย สารอัจฉริยะ ประสิทธิภาพสูง เร่งยาให้เร็ว เร่งยาให้แรง เพิ่มประสิทธิภาพของยาและสารเคมี ดูดซึมเข้าสู่ระบบเซลล์ของพืชได้อย่างรวดเร็ว ออกฤทธิ์ได้เต็มประสิทธิภาพ ช่วยแก้ปัญหากับเกษตรได้จริง ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต
คุณสมบัติ
ช่วยให้สารเคมีออกฤทธิ์ทำได้ได้มากถึง 99%
เชื้อโรค แมลง หญ้า ถูกกำจัดได้อย่างง่ายดาย
ควบคุมการระบาดของแมลงและหญ้า ได้นานมากขึ้น
ไม่ต้องฉีดพ่นสารเคมีบ่อยครั้ง
ลดการใช้สารเคมีลง
ไม่กลัว แสงแดด ลม และฝน
วิธีใช้
ทุกครั้งที่ฉีดพ่นสารทางใบ เช่น ยาฆ่าเมลง ยาฆ่าหญ้า ยาฆ่าเชื้อรา หรือ อาหารเสริม A-100(เอ-ร้อย)1 ฝา 2 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร
ถ้ามีการระบาดของแมลงอย่างมาก ให้เพิ่มปริมาณ A-100(เอ-ร้อย)เป็น 1 ฝา (2 ซีซี) ต่อน้ำ 20 ลิตร
Normal price : 200.00(1ขวดขึ้นไป)
Special price : 170.00(100ขวดขึ้นไป)
Details : A-100(เอ-ร้อย)เป็นสุดยอดของเทคโนโลยีสมัยใหม่ล่าสุด ผลิตภัณฑ์เพื่อเกษตรไทย สารอัจฉริยะ ประสิทธิภาพสูง เร่งยาให้เร็ว เร่งยาให้แรง เพิ่มประสิทธิภาพของยาและสารเคมี ดูดซึมเข้าสู่ระบบเซลล์ของพืชได้อย่างรวดเร็ว ออกฤทธิ์ได้เต็มประสิทธิภาพ ช่วยแก้ปัญหากับเกษตรได้จริง ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต
คุณสมบัติ
ช่วยให้สารเคมีออกฤทธิ์ทำได้ได้มากถึง 99%
เชื้อโรค แมลง หญ้า ถูกกำจัดได้อย่างง่ายดาย
ควบคุมการระบาดของแมลงและหญ้า ได้นานมากขึ้น
ไม่ต้องฉีดพ่นสารเคมีบ่อยครั้ง
ลดการใช้สารเคมีลง
ไม่กลัว แสงแดด ลม และฝน
วิธีใช้
ทุกครั้งที่ฉีดพ่นสารทางใบ เช่น ยาฆ่าเมลง ยาฆ่าหญ้า ยาฆ่าเชื้อรา หรือ อาหารเสริม A-100(เอ-ร้อย)1 ฝา 2 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร
ถ้ามีการระบาดของแมลงอย่างมาก ให้เพิ่มปริมาณ A-100(เอ-ร้อย)เป็น 1 ฝา (2 ซีซี) ต่อน้ำ 20 ลิตร
Normal price : 200.00(1ขวดขึ้นไป)
Special price : 170.00(100ขวดขึ้นไป)
A-100(เอ-ร้อย) (สำหรับฉีดพ่นบนเครื่องบินเล็กในต่างประเทศ)เป็นสารเสริมประสิทธิภาพที่เกาะติดและแทรกเข้าใบพืชทุกชนิด หรือ ถ้าให้พูดให้เห็นภาพก็คือเหมือนกับเราเอาน้ำมันพืชหยดลงบนกระดาษ หรือ หยดน้ำลงใบบัวด้านนวลเแค่ไม้จิ้มฟันจุ่มมาดๆพอแล้วและเทียบเกรดกับยาจับใบ บริษัทขายตรงในประเทศไทยที่ว่าแน่ๆ หรือถ้าอยากดูการทดลอง
คุณสมบัติและประโยชน์ :ช่วยเสริมประสิทธิภาพให้กับสารกำจัดศัตรูพืช และช่วยเร่งในการนำตัวยาเคมีให้ซึมแทรกเข้าสู่ต้นพืชได้รวดเร็ว
พืช : ทุกชนิด อัตราใช้ :3 ซีซี /น้ำ 20 ลิตร
ลักษณะสำคัญ :ป็นสารประเภทไร้ประจุ (Non-Ion)ไม่ทำลายผิวพืช ดูดซึมเร็วกว่าสารเสริมประสิทธิภาพทั่ว 5 เท่า
สารลดแรงตึงผิวมีบทบาทที่สำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์ ในแต่ละวันมนุษย์ใช้สารลดแรงตึงผิวแทบทุกกิจกรรม เช่น การทำความสะอาดร่างกายและของใช้ การ ใช้เครื่องสำอาง การย่อยอาหาร กระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม เป็นต้น นอกจากนี้สารลดแรงตึงผิวก็มีบทบาทที่สำคัญในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น ในกระบวนการบำบัดน้ำเสีย ในการกำจัดคราบน้ำมันและสิ่งสกปรก ในการกำจัดสารแขวนลอยหรือคลอรอยด์ในน้ำ การเลือกประเภทของสารลดแรงตึงผิว ปริมาณหรือความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิว รวมถึงสภาวะอื่นๆให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของการใช้งานต่างๆเป็นสิ่งที่ สำคัญอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพื่อทำให้สารลดแรงตึงผิวทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและไม่ สร้างปัญหาเพิ่มให้กับสิ่งแวดล้อม สารลดแรงตึงผิวส่วนใหญ่จะสามารถย่อยสลายได้โดยธรรมชาติ ทั้งนี้ความสามารถในการถูกย่อยสลายจะขึ้นกับโครงสร้างของสารลดแรงตึงผิว รวมทั้งปริมาณของสารลดแรงตึงผิวที่เหลืออยู่จากการใช้ การช้สารลดแรงตึงผิวในปริมาณที่เหมาะสม นอกจากจะช่วยลดต้นทุนการบำบัดแล้วยังมีส่วนช่วยลดปัญหาสิ่งแวดล้อม ในน้ำดื่มปริมาณสารลดแรงตึงผิวที่สามารถเจือปนได้โดยไม่ก่อให้เกิดอันตราย เท่ากับ 0.5 มิลลิกรัม ต่อลิตร การศึกษาและการพัฒนาการนำสารลดแรงตึงผิวมาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ให้มากขึ้นโดยเฉพาะทางด้านสิ่งแวดล้อมจึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจอย่างยิ่งในอนาคต
คุณสมบัติของสารลดแรงตึงผิว
สารลดแรงตึงผิว หรือ SURFace ACTive AgeNT มีชื่อเรียกโดยทั่วไปทางวิทยาศาสตร์ว่า “ Surfactant ” สารลดแรงตึงผิวเดิมทีเดียวมาจากภาษาเยอรมันว่า Tensid ซึ่งตั้งโดยนักเคมีชาวเยอรมันในปี ค.ศ. 1960 สารลดแรงตึงผิวส่วนใหญ่เป็นสารประกอบอินทรีย์ซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ชอบน้ำ (hydrophilic group) และส่วนที่ไม่ชอบน้ำ (hydrophobic group) ดังแสดงในภาพที่ 1b ส่วนที่ไม่ชอบน้ำมักจะเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน คือมีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบหลัก ส่วนใหญ่จะมาจากไขมันและน้ำมันตามธรรมชาติ รวมทั้งผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม และโพลีเมอร์สังเคราะห์ ลักษณะที่สำคัญของสารลดแรงตึงผิวคือเมื่อใส่สารลดแรงตึงผิวเพียงเล็กน้อยลง ในน้ำ สารลดแรงตึงผิวจะไปลดแรงตึงผิวของน้ำเพื่อให้เกิดกระบวนการต่างๆ ง่ายขึ้น เช่น การเกิดฟอง การทำให้เปียก และกระบวนการทำความสะอาด เป็นต้น ส่วนที่ไม่ชอบน้ำจะพยายามหนีน้ำโดยไปเกาะกับพื้นผิวที่ว่าง เช่น อากาศ ส่วนที่ชอบน้ำจะยังคงอยู่ในน้ำซึ่งแสดงในภาพที่ 1c สารลดแรงตึงผิวสามารถแบ่งได้เป็น 4 ประเภทซึ่งแบ่งตามลักษณะหรือประจุของส่วนที่ชอบน้ำ (hydrophilic group) ได้แก่
1. สารลดแรงตึงผิวที่มีประจุบวก (Cationic surfactant) ได้แก่ Cetyltrimethyl ammonium bromide (CTAB) ซึ่งมีสูตรโมเลกุล คือ C16H33N(CH3)3+Br- สารลดแรงตึงผิวที่มีประจุบวกมักจะพบในผลิตภัณฑ์ยาสีฟัน ครีมนวดผม และน้ำยาปรับผ้านุ่ม เป็นต้น
2. สารลดแรงตึงผิวที่มีประจุลบ (Anionic surfactant) ได้แก่ Sodium dodecyl sulphate (SDS) ซึ่งมีสูตรโมเลกุล คือ CH3(CH2)11SO4-Na+ มักจะเป็นส่วนประกอบในผงซักฟอกและสบู่ เป็นต้น
3. สารลดแรงตึงผิวที่ไม่มีประจุ (Nonionic surfactant) ได้แก่ Polyoxyethylene alcohol ซึ่งมีสูตรโมเลกุล คือ (CnH2n+1(OCH2CH2)mOH) สารลดแรงตึงผิวที่ไม่มีประจุนี้มักจะนำไปผสมในสบู่เหลวล้างหน้า
4. สารลดแรงตึงผิวที่มีทั้งประจุบวกและประจุลบ (Zwitterionic surfactant) ได้แก่ b-N-Alkylaminopropionic Acids มีสูตรโมเลกุล คือ RN+H2CH2CH2COO- ซึ่งเป็นส่วนประกอบในเครื่องสำอาง สารป้องกันการกัดกร่อน และสารยับยั้งแบคทีเรีย เป็นต้น
สารลดแรงตึงผิวยังมีคุณสมบัติที่ทำให้เฟสสองเฟสที่ต่างกันมารวมตัวกันได้ คำว่าอยู่คนละ เฟส คือ การไม่ผสมเป็นเนื้อเดียวกัน น้ำและน้ำมันไม่ละลายซึ่งกันและกันเพราะมีคุณสมบัติที่ต่างกันโดยที่น้ำเป็น สารประกอบที่มีขั้ว ส่วนน้ำมันเป็นสารประกอบที่ไม่มีขั้ว เมื่อใส่สารลดแรงตึงผิวเข้าไปเพียงเล็กน้อยก็สามารถทำให้สองเฟสมารวมกันเป็น เฟสเดียวกันได้ ตัวอย่างเช่น การใส่ไข่แดงซึ่งมี lecithin เป็นสารลดแรงตึงผิวประกอบอยู่ประมาณ 10% ลงไปในน้ำที่ผสมน้ำมันเพื่อทำน้ำสลัด ทำให้น้ำและน้ำมันรวมตัวเป็นเนื้อเดียวกัน
ตัวอย่างโครงสร้างของสารลดแรงตึงผิวแสดงในภาพที่ 1 ภาพที่ 1a แสดงโครงสร้างของสารลดแรงตึงผิวชนิดประจุลบซึ่งมีสูตรโมเลกุล คือ C12H25SO4-Na+ ภาพที่ 1b เป็นการแสดงโครงสร้างของสารลดแรงตึงผิวทั่วไปซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก คือ ส่วนที่ชอบน้ำและส่วนที่ไม่ชอบน้ำซึ่งสามารถเปรียบเทียบโครงสร้างได้กับภาพที่ 1a โดยที่ส่วนที่ไม่ชอบน้ำคือ C12H25 และส่วนที่ชอบน้ำ คือ SO4- และ ภาพที่ 1c แสดงการเรียงตัวของสารลดแรงตึงผิวเมื่อวางตัวอยู่ในน้ำ
ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบสารลดแรงตึงผิวทั้ง 4 ชนิดในการทำให้เกิดฟอง ความสามารถในการซักล้าง และการทำให้พื้นผิวอ่อนนุ่ม จะเห็นว่าสารลดแรงตึงผิวที่มีประจุลบจะมีคุณสมบัติทำให้เกิดฟองดีที่สุด ส่วน สารลดแรงตึงผิวที่มีทั้งประจุบวกและลบจะมีคุณสมบัติในการทำให้พื้นผิวอ่อน นุ่มดีที่สุด สารลดแรงตึงผิวแต่ละชนิดมีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกัน ในปัจจุบันได้มีการนำสารลดแรงตึงผิวแต่ละชนิดมาผสมกันในอัตราส่วนที่เหมาะสม เพื่อให้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตารางที่ 1 เปรียบเทียบความสามารถของสารลดแรงตึงผิวทั้ง 4 ชนิด ในการทำให้เกิดฟอง การซักล้าง และการทำให้พื้นผิวเกิดความอ่อนนุ่ม (Tiger Chemical Company, 1997)
ประเภท / คุณสมบัติ
สารลดแรงตึงผิว
|
การเกิดฟอง
|
ความสามารถในการซักล้าง
|
ความสามารถในการทำให้อ่อนนุ่ม
|
ประจุลบ
|
ดีที่สุด
|
ค่อนข้างดี
|
ไม่แน่นอน
|
ไม่มีประจุ
|
ดี
|
ดี
|
ดี
|
ประจุบวก
|
ไม่ดี
|
ปานกลาง
|
ไม่ดี
|
ประจุบวกและลบ
|
ค่อนข้างดี
|
ดี
|
ดีที่สุด
|
การนำสารลดแรงตึงผิวไปใช้ประโยชน์
สารลดแรงตึงผิวมีบทบาทที่สำคัญอย่างยิ่งในชีวิตประจำวันของมนุษย์ ในร่างกายมนุษย์ก็มีสารลดแรงตึงผิวประกอบอยู่ เช่น Gall Acid ซึ่ง จะย่อยสารประเภทไขมันได้ สารลดแรงตึงผิวมีประโยชน์หลายๆ ด้าน โดยเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของผลิตภัณฑ์ต่างๆ และเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการผลิตต่างๆ ได้แก่
1. สารลดแรงตึงผิวเป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด เช่น ผงซักฟอก สบู่ ยาสีฟัน ยาสระผม ครีมนวดผม และผลิตภัณฑ์ที่มีฟอง เป็นต้น
2. สารลดแรงตึงผิวเป็นส่วนประกอบในเครื่องสำอางและครีมกันแดด
3. สารลดแรงตึงผิวถูกนำมาใช้ในทางการแพทย์ ผลิตยา
4. สารลดแรงตึงผิวถูกนำมาใช้ในอุตสาหกรรม เช่น กระบวนการย้อมผ้า การเคลือบสีไม้หรือโลหะ การผลิตพลาสติก การทำหนังสัตว์ การผลิตเนยเทียม เค้กและไอศกรีม เป็นต้น
5. สารลดแรงตึงผิวถูกนำมาใช้ในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น บำบัดน้ำเสีย กำจัดมลพิษทางดิน ดูดซับของเสีย เป็นต้น
6. สารลดแรงตึงผิวถูกนำมาใช้ในกระบวนการสกัดแยก เช่น การสกัดแยกแร่ การแยกน้ำมัน ออกจากน้ำ เป็นต้น
นอกจากนี้ยังมีการนำสารลดแรงตึงผิวมาใช้ในเทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น นาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยีชีวภาพ งานพิมพ์อิเล็คทรอนิกส์ และเครื่องบันทึกแถบแม่เหล็ก เป็นต้น
นอกจากสารลดแรงตึงผิวจะมีบทบาทในชีวิตประจำวันแล้ว เช่น ในกระบวนการทำความสะอาด สารลดแรงตึงผิวยังมีบทบาทที่สำคัญและนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆมากมาย รวมทั้งทางด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ในกระบวนการบำบัดน้ำเสีย อย่างไรก็แล้วแต่การนำสารลดแรงตึงผิวไปใช้ประโยชน์นั้นจะต้องพิจารณาอย่าง รอบคอบ ทั้งนี้เพราะสารลดแรงตึงผิวก็สามารถทำลายสิ่งแวดล้อมได้เช่นกันถ้ามีการใช้ ในปริมาณที่ไม่ถูกต้องและมีนำสารลดแรงตึงผิวผิดประเภทมาใช้ ตัวอย่างเช่นในการปล่อยน้ำซักผ้าหรือน้ำยาล้างจานที่เข้มข้นซึ่งมีสารลดแรงตึงผิวเป็นส่วนประกอบลงในแม่น้ำลำคลอง จะทำให้เกิดฟองอย่างมาก นอกจากจะทำลายสุนทรียภาพของแม่น้ำลำคลองแล้ว ยังสร้างผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ และอาจต้องใช้เวลานานที่กระบวนการธรรมชาติโดยแบคทีเรียหรือจุลินทรีย์จะย่อยสลายสารลดแรงตึงผิวได้หมด US. EPA. ได้กำหนดความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิวในน้ำดื่มให้ไม่เกิน 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร (Kawamura, 2000)
1
ขวดก็ส่งทั่วโลก
หน้าฝนจะฉีดยาเคมีฆ่าหญ้า ฆ่าหนอน ฆ่าเพลี้ย คิดนานมากม๊าก เราขอนำเสนอ A-100
สารเร่งยาเคมีและนำพาสารเคมีทุกชนิด ฮอร์โมนเข้าใบพืชทุกประภทได้รวดเร็ว
แค่ 5 นาทีก่อนฝนตกได้ผล 100 %
ใช้ได้ตั้งแต่ ผสมไกโฟเสตฉีดหัวคันนา ผสมยาหมักข้าวดีดข้าวเด้ง ผสมยาคุมเลน ผสมยาคุมฆ่า
ไม่ซื้อใช้จะเสียใจตลอดการทำนา 1ฤดู
ประหยัดกว่า ได้ผลดีกว่า เกรดยุโรป ราคาเอเชีย
รับสมัครตัวแทนจำหน่ายทั่วประเทศไทย
สมัครวันนี้ล็อกพื้นที่การขายให้ก่อน
โทรเลย.087-9181-778
หาคำว่า ราคาแม่ปุ๋ยทางใบ จากเว็ปไซต์ค้นหาชั้นนำของโลก www.google.com ( สำหรับเกษตรต้องการเปลี่ยนวิถีชีวิตใหม่ๆ....ประหยัดจริง ได้ผลผลิตดีขึ้นและมากขึ้น ฝากผลงานสินค้าคุณภาพไว้ด้วยจ๊ะ เราจัดส่งทั่วประเทศไทยทุกพื้นที่....ที่อินเตอร์เน็ตเข้าถึงและไปรษณีย์ส่งได้ ทางลาดยาง หรือ คอนกรีตผ่าน ไฟฟ้า ประปาเข้าถึง มีเสาโทรศัพท์เคลื่อนที่ติดตั้ง
By ป.เคมีภัณฑ์ ณ.สิงห์บุรี
เราขาย.....ธาตุอาหารหลักของพืชเท่านั้น
เราขาย.....ธาตุอาหารหลักของพืชเท่านั้น
ส่งทั่วประเทศไทยได้แล้ววันนี้......ฟรีค่าขนส่งทั่วประเทศไทย....ติดต่อด่วน!!!
หาคำว่า ราคาแม่ปุ๋ยเคมีวันนี้ 18-46-0 / 0-0-60 / 46-0-0
สินค้าแนะนำ : วัคซีนเม็ด ชนิดเข้มข้นพิเศษ
สรรพคุณ : ใบตั้ง เขียทนเขียวนาน ต้นแข็ง ควรผสมร่วมกับแม่ปุ๋ยทางใบทุกครั้ง
<<< รับสมัครตัวแทนจำหน่าย หรือ จุดกระจายสินค้า ทั่วประเทศไทย >>>
แชทกับทีมงาน ..........คลิกตรงนี่ติดต่อกลับที่ทีมงาน คลิกตรงนี่
** กรุณาฝากเรื่องไว้หน้าเว็ปหลักของทางร้านเท่านั้น**
จำหน่ายสารเคมีเกี่ยวกับการเกษตร สวนส้ม อาหารสัตว์ และ ฟาร์มกุ้ง
- คอปเปอร์ซัลเฟต(Copper Sulphate Pentahydrate) หรือ จุลสี สำหรับผสมแร่ธาตุอาหารสัตว์ ,กำจัดหอยเชอรี่ ในฟาร์มกุ้ง,ใช้ทาต้นส้มเพื่อป้องกันเชื้อรา, ป้องกันตะไคร่น้ำในสระว่ายน้ำ
- โซเดียมโมลิบเดต (Sodium Molybdate) สำหรับเพิ่มแร่ธาตุในปุ๋ย
- แคลเซี่ยมไนเตรท (Calcium Nitrate) หรือ ปุ๋ย 15-0-0
- แม็กนี่เซี่ยมซัลเฟต (Magnesium Sulphate) หรือ ดีเกลือ
- โปตัสเซี่ยมไนเตรท (Potassium Nitrate) หรือ ปุ๋ย 13-0-46
- โมโนโปตัสเซี่ยมฟอสเฟต (Monopotassium Phosphate) หรือ MKP ปุ๋ย 0-52-34
- โมโนแอมโมเนี่ยมฟอสเฟต (Monoammonium Phosphate) หรือ ปุ๋ย 12-60-0
- โปตัสเซี่ยมคลอไรด์ (Potassium Chloride) หรือ ปุ๋ย 0-0-60
- โปตัสเซี่ยมซัลเฟต (Potassium Sulphate) หรือ ปุ๋ย 0-0-51
- ไดแอมโมเนี่ยมฟอสเฟต (Diammonium Phosphate) หรือ DAP ปุ๋ย 21-54-0
- ซิงค์ซัลเฟต(Zinc Sulphate Monohydrate & Zinc Sulphate Heptahydrate) สำหรับเพิ่มธาตุสังกะสี
- แมงกานีสซัลเฟต (Manganese Sulphate Monohydrate)
- บอริค แอซิด (Boric Acid)
- บอแร็กซ์ (Borax 5H2O & Borax 10H2O)
- ฟอสฟอริก แอซิด (Phosphoric Acid)
- ไนตริก แอซิด (Nitric Acid)
- โซเดียมลิกโนซัลโฟเนต (Sodium Lignosulfonate)
- แคลเซี่ยมคลอไรด์ (Calcium Chloride)
- เฟอรัสซัลเฟต (Ferrous Sulphate Heptahydrate)
- อีดีทีเอ (EDTA 2Na & EDTA 4Na)
- กลูโคส (Glucose Monohydrate หรือ Dextrose)
- แม็กนีเซี่ยมคลอไรด์ (Magnesium Chloride)
- โซเดียม ไบคาร์บอเนต (Sodium Bicarbonate)
อื่น ๆ สามารถ สอบถามกับ ป.เคมีภัณฑ์ ณ.สิงห์บุรี ได้โดยตรง ยินดีให้บริการกับทุกท่าน
- คอปเปอร์ซัลเฟต(Copper Sulphate Pentahydrate) หรือ จุลสี สำหรับผสมแร่ธาตุอาหารสัตว์ ,กำจัดหอยเชอรี่ ในฟาร์มกุ้ง,ใช้ทาต้นส้มเพื่อป้องกันเชื้อรา, ป้องกันตะไคร่น้ำในสระว่ายน้ำ
- โซเดียมโมลิบเดต (Sodium Molybdate) สำหรับเพิ่มแร่ธาตุในปุ๋ย
- แคลเซี่ยมไนเตรท (Calcium Nitrate) หรือ ปุ๋ย 15-0-0
- แม็กนี่เซี่ยมซัลเฟต (Magnesium Sulphate) หรือ ดีเกลือ
- โปตัสเซี่ยมไนเตรท (Potassium Nitrate) หรือ ปุ๋ย 13-0-46
- โมโนโปตัสเซี่ยมฟอสเฟต (Monopotassium Phosphate) หรือ MKP ปุ๋ย 0-52-34
- โมโนแอมโมเนี่ยมฟอสเฟต (Monoammonium Phosphate) หรือ ปุ๋ย 12-60-0
- โปตัสเซี่ยมคลอไรด์ (Potassium Chloride) หรือ ปุ๋ย 0-0-60
- โปตัสเซี่ยมซัลเฟต (Potassium Sulphate) หรือ ปุ๋ย 0-0-51
- ไดแอมโมเนี่ยมฟอสเฟต (Diammonium Phosphate) หรือ DAP ปุ๋ย 21-54-0
- ซิงค์ซัลเฟต(Zinc Sulphate Monohydrate & Zinc Sulphate Heptahydrate) สำหรับเพิ่มธาตุสังกะสี
- แมงกานีสซัลเฟต (Manganese Sulphate Monohydrate)
- บอริค แอซิด (Boric Acid)
- บอแร็กซ์ (Borax 5H2O & Borax 10H2O)
- ฟอสฟอริก แอซิด (Phosphoric Acid)
- ไนตริก แอซิด (Nitric Acid)
- โซเดียมลิกโนซัลโฟเนต (Sodium Lignosulfonate)
- แคลเซี่ยมคลอไรด์ (Calcium Chloride)
- เฟอรัสซัลเฟต (Ferrous Sulphate Heptahydrate)
- อีดีทีเอ (EDTA 2Na & EDTA 4Na)
- กลูโคส (Glucose Monohydrate หรือ Dextrose)
- แม็กนีเซี่ยมคลอไรด์ (Magnesium Chloride)
- โซเดียม ไบคาร์บอเนต (Sodium Bicarbonate)
อื่น ๆ สามารถ สอบถามกับ ป.เคมีภัณฑ์ ณ.สิงห์บุรี ได้โดยตรง ยินดีให้บริการกับทุกท่าน