ฟังเรื่องข้าวอินทรีย์(เปิดลำโพงด้วยครับ):http://www.organicricesingburi.blogspot.com
ช่วยเสริมประสิทธิภาพให้กับสารกำจัดศัตรูพืช และช่วยเร่งในการนำตัวยาเคมีให้ซึมแทรกเข้าสู่ต้นพืชได้รวดเร็ว
พืช : ทุกชนิด อัตราใช้ :3 ซีซี /น้ำ 20 ลิตร
ลักษณะสำคัญ
:ป็นสารประเภทไร้ประจุ (Non-Ion)ไม่ทำลายผิวพืช
ดูดซึมเร็วกว่าสารเสริมประสิทธิภาพทั่ว 5 เท่า
สินค้าทั่วไปในท้องตลาด
1.ต้นทุนการใช้สารเคมีสูง
2.พืชดูดซับธาตุอาหาร และสารเคมีต่างๆ ไปใช้ประโยชน์ได้น้อย
3.สารเคมีทั้งชนิดน้ำ, น้ำมันและผงผสมเข้ากันไม่ได้ดี
4.ต้องฉีดพ่นสารเคมีแช่นานๆ เพื่อให้แผ่กระจายได้ทั่วถึง ทำให้สิ้นเปลืองเวลา
5.บางครั้งทำให้อุปกรณ์ฉีดพ่นอุดตัน
รายชื่อมูลสัตว์
|
ไนโตรเจน
|
ฟอสฟอรัส
|
โปแตสเซียม
|
ขี้วัว
|
0.32-1.2
|
0.21-0.39
|
0.16-3.10
|
ขี้หมู
|
0.6-2.2
|
0.23-0.46
|
0.44-1.33
|
ขี้ไก่
|
1.2-4.9
|
0.7-4.1
|
0.47-3.50
|
ขี้ค้างคาว
|
0.1-2.9
|
0.26-16.0
|
0.33-18.3
|
หน่วยของค่าดังกล่าว
คือ %/W (เปอร์เซ็นต์ต่อน้ำหนัก) ก็แสดงให้เห็นว่าสำหรับไนโตรเจนแล้วมีมากในขี้ไก่ ฟอสฟอรัสมีมากในขี้ค้างคาว และโปแตสเซียมก็มีมากในขี้ค้างคาวเช่นเดียวกันครับ
ขี้ไก่ ต้องหมัก ให้หายร้อนก่อนนะครับ
ก่อนจะเอาไปใช้งาน ขี้วัวทุ่ง ก็
ต้องหมัก เพื่อกำจัดเมล็ดวัชพืชครับ
ปุ๋ยขี้ไก่และขี้เป็ด
จะมีปริมาณธาตุอาหารสูงกว่าขี้หมู
และขี้หมูจะปริมาณธาตุอาหารสูงกว่าขี้วัว และขี้ควาย ปุ๋ยคอกใหม่ ๆ
จะมีปริมาณธาตุอาหารสูงกว่าปุ๋ยคอกที่เก่าและเก็บไว้นาน
ทั้งนี้เนื่องจากส่วนของปุ๋ยที่ละลายได้ง่ายจะถูกชะล้างออกไปหมด
บางส่วนก็กลายเป็นก๊าซสูญหายไป
มูลค้างคาวเขาว่าเป็นราชาแห่งปุ๋ย แต่มูลของมนุษย์น่าจะนับได้ว่าเป็นจักรพรรดิแห่งปุ๋ยเพราะมนุษย์
สวาปามทุกอย่าง หลากหลายกว่า สัตว์ใดๆทั้งปวงจริงเท็จประการใดมิทราบยังไม่เคยเห็นข้อมูล
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปแตสเซียม ในมูลมนุษย์เลยครับ
พิจารณาจากอาหารที่กิน
วัวกินหญ้าอย่างเดียว
หมูกินรำที่อุดมด้วยวิตามิน
ไก่กินเมล็ดข้าว เมล็ดพืช รำ แมลงและ พืชบางชนิด ช้างกินหญ้ากินใบไม้ ยกเว้นช้างเร่ร่อนอาจจะได้กินกล้วยบ้างหรือช้างป่าอาจจะได้กินสับปะรดช้างไม่เคี้ยวเอื้องมูลช้างจึงมีเนื้อหยาบไม่ละเอียดเหมือนมูลควายม้าก็ไม่เคี้ยวเอื้อง มูล ละเอียดกว่ามูลช้างนิดหน่อย
วัวกินหญ้าอย่างเดียว
หมูกินรำที่อุดมด้วยวิตามิน
ไก่กินเมล็ดข้าว เมล็ดพืช รำ แมลงและ พืชบางชนิด ช้างกินหญ้ากินใบไม้ ยกเว้นช้างเร่ร่อนอาจจะได้กินกล้วยบ้างหรือช้างป่าอาจจะได้กินสับปะรดช้างไม่เคี้ยวเอื้องมูลช้างจึงมีเนื้อหยาบไม่ละเอียดเหมือนมูลควายม้าก็ไม่เคี้ยวเอื้อง มูล ละเอียดกว่ามูลช้างนิดหน่อย
A-100(เอ-ร้อย) (สำหรับฉีดพ่นบนเครื่องบินเล็กในต่างประเทศ)เป็นสารเสริมประสิทธิภาพที่เกาะติดและแทรกเข้าใบพืชทุกชนิด หรือ
ถ้าให้พูดให้เห็นภาพก็คือเหมือนกับเราเอาน้ำมันพืชหยดลงบนกระดาษ หรือ หยดน้ำลงใบบัวด้านนวลเแค่ไม้จิ้มฟันจุ่มมาดๆพอแล้วและเทียบเกรดกับยาจับใบ
บริษัทขายตรงในประเทศไทยที่ว่าแน่ๆ หรือถ้าอยากดูการทดลอง
คุณสมบัติและประโยชน์ :ช่วยเสริมประสิทธิภาพให้กับสารกำจัดศัตรูพืช และช่วยเร่งในการนำตัวยาเคมีให้ซึมแทรกเข้าสู่ต้นพืชได้รวดเร็ว
พืช : ทุกชนิด อัตราใช้ :3 ซีซี /น้ำ 20 ลิตร
1.ประหยัดสารเคมีได้มาก
20-40%
2.พืชสามารถดูดซับธาตุอาหาร และสารเคมีต่างๆ ซึ่งนำไปใช้ประโยชน์ได้มากกว่าและช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพการให้ปุ๋ยทางใบ, สารเคมีทำให้ผลผลิตดี และมีคุณภาพ
3.ทำให้สารเคมีทั้งชนิดน้ำ, น้ำมันและผงผสมเข้ากันได้ดี
4.ช่วยให้สารเคมีที่ฉีดพ่น แผ่กระจายได้ทั่วถึงทำให้ประหยัดเวลา และแรงงาน
5.ช่วยรักษาอุปกรณ์ที่ใช้ฉีดพ่น ไม่ให้อุดตัน
2.พืชสามารถดูดซับธาตุอาหาร และสารเคมีต่างๆ ซึ่งนำไปใช้ประโยชน์ได้มากกว่าและช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพการให้ปุ๋ยทางใบ, สารเคมีทำให้ผลผลิตดี และมีคุณภาพ
3.ทำให้สารเคมีทั้งชนิดน้ำ, น้ำมันและผงผสมเข้ากันได้ดี
4.ช่วยให้สารเคมีที่ฉีดพ่น แผ่กระจายได้ทั่วถึงทำให้ประหยัดเวลา และแรงงาน
5.ช่วยรักษาอุปกรณ์ที่ใช้ฉีดพ่น ไม่ให้อุดตัน
สินค้าทั่วไปในท้องตลาด
1.ต้นทุนการใช้สารเคมีสูง
2.พืชดูดซับธาตุอาหาร และสารเคมีต่างๆ ไปใช้ประโยชน์ได้น้อย
3.สารเคมีทั้งชนิดน้ำ, น้ำมันและผงผสมเข้ากันไม่ได้ดี
4.ต้องฉีดพ่นสารเคมีแช่นานๆ เพื่อให้แผ่กระจายได้ทั่วถึง ทำให้สิ้นเปลืองเวลา
5.บางครั้งทำให้อุปกรณ์ฉีดพ่นอุดตัน