แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ หญ้าลิเก แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ หญ้าลิเก แสดงบทความทั้งหมด

วันอาทิตย์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2563

กำจัดหญ้านาข้าวหญ้าข้าวนก,หญ้าหางหมา,หญ้าลิเก,หญ้าพุ่มพวง,หญ้าใบแคบ,วัชพืชใบแคบ,ยาฆ่าหญ้าในนาข้าว,กําจัดหญ้าในนาข้าว

กำจัดวัชพืช :วัชพืชประเภทใบแคบเช่น หญ้าข้าวนก(ชื่ออื่น หญ้าคอมมิวนิสต์ หญ้าพุ่มพวง) หญ้านกสีชมพู(หญ้าหางหมา) วิธีใช้:100-200 กรัม ผสมน้ำ 60-80 ลิตร พ่นบนพื้นที่ 1 ไร่ หรือ 25-50 กรัม ผสมน้ำ 15-20 ลิตร พ่นบนพื้นที่ 1 งาน หลังหว่านข้าว 8 วัน ก่อนพ่นสารให้ระบายน้ำออก และทดน้ำเข้านาหลังพ่นสาร 2-3 วันติดต่อสอบถามเพจ ป.เคมีภัณฑ์ ณ.สิงห์บุรี : https://web.facebook.com/chemicalsshop

หญ้าข้าวนก หรือ หญ้าพุ่มพวง (Bamyard grass) จัดเป็นวัชพืชที่สำคัญในนาข้าว เป็นวัชพืชที่คล้ายต้นข้าวมาก ทำให้ยากต่อการกำจัดด้วยมือ เพราะแยกแยะยาก พบได้ทั่วไปตามพื้นที่ชื้นแฉะ มีน้ำขังในช่วงหน้าฝน โดยเฉพาะในนาข้าวที่เติบโตพร้อมกับต้นข้าว แพร่กระจายได้เร็ว ทนต่อดินเค็ม ดินเปรี้ยวได้สูง
ชื่อวิทยาศาสตร์ Echinochloa crus-galli (L.) T. Beauv.
ชื่อสามัญ barnyard grass
ชื่ออื่น หญ้าคอมมิวนิสต์, หญ้าพุ่มพวง
ประเภท/ชีพจักร หญ้า/อายุปีเดียว
ลักษณะทางชีววิทยา
ใบอ่อนจะเป็นคลื่นสีเขียวอ่อนถึงสีเขียว เส้นใบสีเขียวอ่อน ใบจะยาวกว่าใบข้าว ดอกเป็นช่อ ออกดอกได้ตลอดปีเมื่ออายุ 2-3 เดือน ชอบขึ้นในสภาพดินชื้นแฉะความชื้นตั้งแต่ 50 % สามารถงอกใต้น้ำได้ลึก 1-2 เซนติเมตร การขังน้ำไว้ประมาณ 3-7 วัน จะสามารถทำลายการพักตัวของเมล็ดได้ เจริญเติบโตได้ดีในสภาพน้ำขัง
การป้องกันกำจัด
เขตกรรม
1.ล่อให้งอกโดยการไขน้ำเข้านาแล้วขังไว้ 3 - 7 วัน ระบายน้ำออกทิ้งไว้ในสภาพดินชื้น 1-2 สัปดาห์ จะงอกขึ้นมาจำนวนมาก
2.เมื่อหญ้าข้าวนกงอกขึ้นมาเป็นจำนวนมากแล้วจึงไถกลบทำลาย
และเตรียมดิน
3.หากมีการเตรียมดินดีเรียบสม่ำเสมอ จะสามารถเอาน้ำเข้านาได้หลังหว่านข้าวงอกแล้ว 7 วัน โดยขังน้ำลึกกว่า 2 เซนติเมตรจะควบคุมไม่ให้หญ้าข้าวนกงอกขึ้นมาได้ แต่ที่งอกมาก่อนหน้าการขังน้ำก็ยังสามารถเจริญเติบโตได้
สารกำจัดวัชพืช
ประเภทก่อนวัชพืชงอก
เช่น เพรททิลาคลอร์, บิวทาคลอร์
ประเภทหลังวัชพืชงอก
เช่น ควินคลอแรก, ไซฮาโลฟอบ-บิวทิล, บีสไพริแบก-โซเดียม,
ฟีนอกซาพรอป-พี-เอทิล, โพรพานิล
หญ้าข้าวนก พบแพร่กระจายในทุกภาค แต่พบมากในภาคกลาง และอีสาน เป็นพืชล้มลุกปีเดียว เติบโตในช่วงหน้าฝน พบมากในที่ลุ่ม ชอบขึ้นตามพื้นดินชื้นแฉะหรือมีสภาพน้ำขัง โดยเฉพาะในนาข้าว จนจัดเป็นวัชพืชสำคัญของนาข้าวชนิดหนึ่ง เป็นหญ้าที่เติบโตได้ในทุกสภาพดิน ทนต่อดินเค็ม และดินเปรี้ยวได้สูง
• ชื่อสามัญ :
– Bamyard grass
– Bamyard millet
– Chicken panic grass
– Cook’s foot baronet
– Baronet grass
– Water grass
• ชื่อท้องถิ่น :
– หญ้าข้าวนก
– หญ้าปล้องละมาน
– หญ้าไข่แมงดา
– หญ้าปล้อง
– หญ้าวัง
– หญ้าพุ่มพวง
– หญ้าหางวัว
คุยเรื่องปัญหาทางการเกษตร :
https://web.facebook.com/groups/Por.ChemicalatSingBuri/
ไลฟ์สด ถาม-ตอบปัญหาการเกษตร ถาม-ตอบทั่วไป
--------------
กลุ่มไลน์LINE: https://line.me/ti/g2/mXfKclhkmpsBiSkFgihF9g
สอบถามเรื่องการเกษตรได้24ช.ม.
---------------
กดติดตาม+ชมแบบ4Kyoutubeผลงานของเกษตรกรทั่วไทย: https://bit.ly/3gzqRyM
---------------
instagramเรื่องเกษตรกรรมนาข้าว: https://www.instagram.com/prajob_200000
==============
บทความการทดสอบ-ทดลองเรื่องการเกษตร/สนทนาปุ๋ย-ยา-เทคนิคเพิ่มผลผลิตพืชกับ ป.เคมีภัณฑ์ :
http://www.0879181778.blogspot.com
---------------