แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ เทรดForex แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ เทรดForex แสดงบทความทั้งหมด

วันพุธที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561

หุ้นกับforex มันต่างกันยังไงครับ,ระบบเทรด Forex คืออะไร,ความเข้าใจผิดๆของนักลงทุน


    ระบบการเทรด บนตลาด FOREX (แลกเปลี่ยนสกุลเงิน 2ประเทศ)
มันไม่ง่ายนะครับ ที่จะเทรดให้อยู่รอด  เทรดให้ได้กำไรตลอดรอดฝั่งและเทรดให้ได้กำไรแบบถาวร...และ คำว่า กำไร... คือกำไรที่ถอนได้ ไม่ใช่กำไรที่ไม่สามารถถอนได้...  หลายคน(คนส่วนใหญ่) พยายามหาเครื่องมืออันทรงประสิทธิภาพ ในการเทรดเพื่อเป็นตัวช่วย เป็นเครื่องจักรในการช่วยเทรด แล้วเอากำไรจากตลาดมาให้ได้  ในตลาดฟอเร็กซ์ มันเป็นตลาดที่เป็นเทรนด์น้อยมากๆ นานๆที มันเป็นเทรนด์ และเป็นเทรนด์ใหญ่ซะด้วย
-------------------------------------------------------------ตลาดฟอเร็กซ์ ไม่เหมือนตลาดหุ้น

ตลาดหุ้น มันง่ายกว่า ตรงที่อ่านงบการเงิน วิเคราะห์สภาพบริษัทได้ อ่านใจเจ้าของกิจการได้เอง ก็มองเห็นอนาคตของบริษัทนั้นๆไป 3 ปี 5 ปี คาดการณ์ได้แม่นยำกว่า แต่ฟอเร็กซ์เรารู้อะไรบ้าง นอกจากกราฟ กราฟ แล้วก็กราฟ
กับข่าว Forexfactory จริงๆปลอมๆ สลับกัน ปนๆกันอยู่ 24 ชั่วโมง
แต่วันนี้ พวกเราหลายคน จากวันแรกที่กลัวๆ กล้าๆ ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลอะไร ผมขอขอบคุณ ที่ทำให้เราได้มาเจอกัน ได้มาพบกัน นั่นหมายถึง พวกเราได้มีจุดเริ่มต้นใหม่ร่วมกัน และ หลายคนในครอบครัวเรา สามารถซื้อบ้านได้ ซื้อรถได้ จากกำไรโดยแท้จริง ในตลาดฟอเร็กซ์  ผมเห็นแม้กระทั่ง บางคน กล้าๆกลัวๆ ใช้วิธีการเทรดในพอร์ตที่ใช้รัน EA ไปควบคู่กัน
-------------------------------------------------------------
ถ้าคุณกำลังมองหาว่า  กำไรเดือนละ 100%  คุณจะต้องเข้าใจก่อนว่า...
คุณกำลังแลกกับการสูญเสียเงิน 100% ภายใน 10 วัน
กำไรเดือนละ 50%  คุณกำลังแลกกับการสูญเสียเงิน 100% ภายใน 20 วัน กำไรเดือนละ 10%  คุณกำลังแลกกับการสูญเสียเงิน 100% ภายใน 30 วัน
--------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อมูลเพิ่มเติม YouTube : Forex : For = Foreign, Ex = Exchange : คลิปโดดเด่นปี 2561 https://bit.ly/2yOjZsS

YouTube : Forex : For = Foreign, Ex = Exchange : คลิปโดดเด่นปี 2560 https://bit.ly/2Akxvqp

กลุ่ม EAForLekLaakYaa :  https://www.facebook.com/groups/EAForLekLaakYaa/
 -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ดังนั้น ไม่ว่าเครื่องมือนั้น จะความเสี่ยงสูง กลาง ต่ำ แค่ไหน
ตราบใดที่เครื่องมือนั้น ยังคงทำกำไรให้กับเราได้ ไม่ว่าจะเท่าไหร่ ไม่ว่าจะกี่ % ก็ตาม
แต่ผลลัพธ์มันคือ ...กำไร... นั่นคือต้องไชโย
สมมุตินะครับ....เงินทุน 5,000 กำไรเดือนนึง 500 นั่นหมายถึง เดือนละ 10% โดยไม่ลาก ไม่กระชาก ไม่วาบหวิว เก็บเรื่อยๆ ได้นานๆ ถ้าตลาดเป็นแบบนี้ ผมจะชอบมากนะครับ และแทบจะขออ้อนวอนตลาดเลยว่า ให้เป็นแบบนี้ไปเรื่อยๆนะ
เพราะถ้ามันเดือนละ 10% ปีนึง นั่นคือ 120%>>>>>สูงกว่าดอกเบี้ยทุกประเภทบนโลก
สูงกว่าการลงทุนทุกธนบัตร   สูงกว่าการลงทุนในหุ้นทุกชนิด  และสูงพอๆกับ โอกาสในการได้เข้าร่วมวงในหุ้น IPO ของบริษัทใหญ่ๆ (ซึ่งน้อยคนมากๆ จะมีโอกาสได้แตะต้องมัน)  ถ้าให้ง่ายขึ้น ลองย้อนนับ(ตัวเลข) กันดูครับว่า
จากการที่เราได้เชื่อมั่นในตัวเอง เชื่อมั่นในการตัดสินใจ และเชื่อมั่นในตลาดฟอเร็กซ์จากภาพจินตนาการสวยหรูที่เคยเจอ
หรือจากภาพลักษณ์ของใครคนหนึ่งที่เราคุ้นเคย ที่แสดงออกว่า เขามั่งมี เขารวยมาก แล้วเราอยากรวยเหมือนๆกับเขา
เราพยายามเดินตามรอยเท้าเขา ...แต่ในขณะที่เงินในกระเป๋าเรา วิ่งหลุดออกไปแล้วเท่าไหร่?
บางคน 100,000 บาท
บางคน 1,000,000 บาท
บางคน 10,000,000 บาท
มันสะสมจนพอกพูน กลายเป็นการเสพติด ด้วยความอยากได้...กำไร
กำไรที่มากๆ กำไรที่เยอะๆ  ดังนั้น เราจงอย่าเอาสิ่งที่เราสูญเสียไปเป็นตัวตั้ง เพราะมันคือพลาดไปแล้ว
แต่ให้เอาความฝันของเรา คุณภาพชีวิตของเราที่คู่ควรเป็นตัวยืนพื้นในปัจจุบัน
อยู่ที่ว่า เราแลกได้เท่าไหร่..
ต่อให้แม้นว่า มีคนมาการันตีเรา
มีคนมาบอกเราว่าทุนปลอดภัย
มีคนมาบอกเราว่า เขาสามารถทำให้เงินเราโตได้
หรือแม้กระทั่ง ผมมาบอกว่า เงินทุกคนปลอดภัย (ผมยังทำไม่ได้เลย)
เพราะเงินมันไม่ได้อยู่ในมือผม แม้แต่สลึงเดียว  ถ้าผมบอกแบบนั้น คือ ผมกำลังโกหกทุกคน...ทันที!  เพียงแต่ว่า ผมแค่แชร์บอกว่า เครื่องมือที่ผมใช้อยู่ มันไม่เคยทำให้ผมเสียเงิน
มันเป็นเครื่องมือทรงพลังที่ทำให้เงินผมเติบโต
และวันนี้ มันก็ส่งผลให้สมาชิกทุกคนในครอบครัวเรา มีเงินเติบโต ติบโตมากขนาดไหน?

คิดง่ายๆครับว่า ทุกคนเอากำไรจากตลาดนี้ได้ มากกว่า 2,000,000 ต่อเดือนในปัจจุบัน
แต่พอเทรดๆไป ที่เทรดเองเสีย แต่กำไร EA มาหักล้างสรุปหลังๆมานี้ เลิกเทรดเองไปเลย ก็เลยซัดกำไรล้วนๆ
ดังนั้น ขอต้อนรับเข้าสู่ ครอบครัว ใน ตัวเลขและอิสรภาพที่คุณคู่ควร
































วันอาทิตย์ที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2561

สเปรย์บรรเทาอาการปวดเมื่อย ตรา ไทยเดอร์

รายละเอียดสินค้า
#สเปรย์บรรเทาอาการปวดเมื่อย ตรา ไทยเดอร์
**สินค้าส่งออก ใช้ดีจนต้องบอกต่อ...
#ผลิตภัณฑ์ OTOP #แก้ปวดเมื่อย
สูตรใหม่+++ จากชมรมแพทย์พิชัย
1 ขวด บรรจุ 80 มิลลิกรัม
สนใจสั่งซื้อ คลิก :  http://www.24ontop.com/prd-detail.php?p=380&f=65881
#วิธีใช้
ฉีดพ่นบริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย โดยไม่ต้องนวด
#ผลิตโดย ชมรมแพทย์ไทยพิชัย

*****************************************************************************
พลวัตรการเคลื่อนไหวและวัฏจักรของค่าเงิน 

กายวิภาคของค่าเงินดอลลาสหรัฐ
โดยอ้างอิงทฤษฎี Core-Periphery ของ ฮาเวียร์ กอนซาเลซ จากหนังสือที่ชื่อ How to make money with Global Macro
อธิบายการปรับตัวของค่าเงินUSDล่าสุด เป็นผลมาจาก

โดยทั่วไปนั้นค่าเงินทั่วโลกนั้นแบ่งออกเป็น 3 ชนิดด้วยกันคือ
1.Reserve Currencies ซึ่งปัจจุบันคือ USD
2.Hard Currencies คือกลุ่มประเทศที่นำเข้าสินค้าโภคภัณฑ์เป็นสุทธิ และสามารถกู้เงินภายในประเทศได้ในอัตราที่ถูกกว่า เหมาะสำหรับช่วงเวลาที่ต้องการหนีความเสี่ยง (เป็น Safe Heaven)
3.Soft Currencies คือกลุ่มประเทศที่เป็นผู้ส่งออกสินค้าโภคภัณฑ์สุทธิ และมักเป็นผู้ที่ต้องกู้จากแหล่งนอกประเทศ
โดยธรรมชาติแล้วเงินทุนจะไหลไปหาแหล่งที่ผลตอบแทนรวมสูงกว่าเสมอ
ทำให้เมื่อใดก็ตามที่ความเขื่อมั่นในUSDสูงขึ้น ก็จะทำให้เกิดลูปของ Expect+Bias ตามที่เคยอธิบายไปในตอนที่ 1 แล้ว
แต่สิ่งที่เพิ่มเติมคือ แรงกดดันที่ส่งไปยังกลุ่มประเทศ Soft Currencies ทำให้ราคาUSD นั้นสัมพันธ์กับราคาสินค้าโภคภัณฑ์ ในเชิงผกผัน
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อมูลเพิ่มเติม YouTube : Forex : For = Foreign, Ex = Exchange : คลิปโดดเด่นปี 2561 https://bit.ly/2yOjZsS

YouTube : Forex : For = Foreign, Ex = Exchange : คลิปโดดเด่นปี 2560 https://bit.ly/2Akxvqp


กลุ่ม EAForLekLaakYaa :  https://www.facebook.com/groups/EAForLekLaakYaa/
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
กล่าวคือ
เมื่อ USD ขึ้น สินค้าโภคภัณฑ์ลง
เมื่อ USD ลง สินค้าโภคภัณฑ์ขึ้น
เพราะในส่วนของ USD อยู่ในสถานะของ Unit of Account (ตัววัดมูลค่า)
เมื่อมูลค่าเปลี่ยนไปก็จะทำให้ต้องมีการปรับปรุงราคาสินค้าโภคภัณฑ์เพื่อชดเชยมูลค่าที่หายไป หรือ เพิ่มขึ้นตรงนั้น
ซึ่งการปรับตัวลักษณะนี้นั้นส่งผลไปทั่วโลก จนบางคนกล่าวว่า
"ว่าง่ายๆ โลกของเราส่วนใหญ่อยู่ได้ด้วยความเมตตาของดอลลาและFed"
เพราะหากปรับดอกเบี้ยขึ้น นั่นหมายถึงผลตอบแทนรวมเพิ่มขึ้น

ทำให้เงินทุนจะไหลกลับ ทำให้ค่าเงินUSDจะแข็งขึ้น และลูปของ Expect+Bias ก็จะทำงานต่อไป
และส่งผลกระทบใยวงกว้างต่อไปเรื่อยๆ

นอกจากนั้นแล้ว
ทฤษฎีดังกล่าวยังแบ่งประเทศออกเป็น Core (ศูนย์กลาง) และ Periphery (ชายขอบ)
ซึ่งในส่วนนี้นั้นแอดมินมองว่าคล้ายกับการแบ่งประเทศต่างๆออกเป็นประเทศพัฒนาแล้ว(Developed) และประเทศเกิดใหม่(Emerging)
ซึ่งทั้งสองส่วนนี้จะมีพลวัตรเงินตราต่อกันผ่านทางการค้าและการเคลื่อนย้ายเงินทุนแบบต่างๆ

ทำให้
โดยทั่วไปแล้ววัฏจักรของประเทศศูนย์กลางจะยาวนานกว่า
และจะยาวนานกว่าในช่วงที่ค่าเงินแข็งค่าด้วย

เพราะ
ค่าเงินที่อ่อนค่าเท่ากับราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่สูงขึ้น
ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่สูงขึ้นกดดันให้เงินเฟ้อเพิ่มขึ้น
เมื่อเงินเฟ้อสูงขึ้นก็ส่งผลให้Fedปรับเพิ่มดอกเบี้ย
ส่งผลให้อัตราผลตอบแทนรวมของตลาดสหรัฐและพยุงค่าเงินUSDไว้
ดังนั้นค่าเงินดอลลาที่แข็งไม่เพียงดึงดูดการเก็งกำไรเท่านั้น
แต่ยังกดเงินเฟ้อลงด้วย
ซึ่งรักษาผลตอบแทนที่แท้จริงอยู่ในระดับสูง
และกันไม่ให้Fedควบคุม(อัตราดอกเบี้ย)มากเกินไป

ดังนั้นวัฏจักรของกลุ่มประเทศศูนย์กลาง(Core) จึงยาวนานกว่าเมื่อดอลลาแข็งค่าขึ้น
ซึ่งข้างต้นนี้คือธรรมชาติของค่าเงินดอลลสหรัฐที่จะส่งผลต่อทั่วโลกต่อๆไป ซึ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อแนวโน้มในอนาคต การเก็งกำไร และกระแสเงินทุนทั่วโลก

ขยายความให้ชัดเจนมากขึ้น
ต้องกลับไปสู่แนวคิดพื้นฐานเรื่องผลตอบแทนรวม
ก็คือเงินทุนจะไหลไปหาที่ๆผลตอบแทนรวมสูงที่สุด ซึ่งมาจาก 3 ส่วนด้วยกันคือ
ผลตอบแทนจากอัตราแลกเปลี่ยน
ผลตอบแทนจากอัตราดอกเบี่ยและ
การเพิ่มมูลค่าของเงินเมื่อลงทุนในตลาดนั้นๆ (เช่นการปรับตัวขึ้นของหุ้น หรือตราสารหนี้ เป็นต้น)
ซึ่งในบทความนี้ได้มีการแสดงให้เห็นถึงสาเหตุที่ดอลล่ายังคงแข็งค่าขึ้นต่อเนื่องในช่วงที่ผ่านมาซึ่งมีสาเหตุมาจาก 3 ปัจจัยข้างต้นคือ
กราฟที่ 1 Real Trade weight US Dollar Index (ดัชนีค่าเงินดอลลาที่เปรียบเทียบกับสกุลทั่วโลก) ที่มีการแข็งค่าขึ้นมาตั้งแต่กลางปี 2011
กราฟที่ 2 ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรอายุ 10 ปี กับประเทศที่พัฒนาแล้ว ที่สูงขึ้นมาตลอดจนถึงระดับสูงที่สุด
กราฟที่ 3 ที่เป็นการเปรียบเทียบผลตอบแทนระหว่างดัชนี S&P และประเทศที่เหลือทั่วโลก
หากกราฟปรับตัวลงคือ ทั่วโลกให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า
หากกราฟปรับตัวขึ้นคือ S&P ให้ผลตอบแทนได้ดีกว่าทั่วโลก
ซึ่งเห็นได้ว่า เป็นขาขึ้นมาประมาณ 8 ปีแล้ว

ซึ่ง
ทั้ง 3 กราฟแสดงให้เห็นถึง
การทำงานของ Expect+Bias ที่ทำให้แนวโน้มสามารถยืดออกไปได้เรื่อยๆ เว้นแต่ว่าจะมีปัจจัยพื้นฐานที่ไม่ส่งเสริมเข้ามากระทบ และทำให้เกิดการดีดกลับอย่างรุนแรงอีกครั้ง (ตามที่ได้กล่าวถึงในบทความที่แล้ว)

.---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อมูลเพิ่มเติม YouTube : Forex : For = Foreign, Ex = Exchange : คลิปโดดเด่นปี 2561 https://bit.ly/2yOjZsS


YouTube : Forex : For = Foreign, Ex = Exchange : คลิปโดดเด่นปี 2560 https://bit.ly/2Akxvqp


กลุ่ม EAForLekLaakYaa :  https://www.facebook.com/groups/EAForLekLaakYaa/
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ซึ่งตรงกับสูตรคำนวณของ จอร์จ โซรอส ในหนังสือชื่อAlchemy of Finance
↑(e+i+m) → s↑ → e↑
(ซึ่ง E=อัตราแลกเปลี่ยน I=ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ย M = การเพิ่มมูลค่าของเงินทุน S=กระแสเงินทุนเก็งกำไร ลูกศรคือการเพิ่มขึ้น(สำหรับคนที่เคยอ่านแล้ว ลูกศรของ S นั้นเดิมคือการเพิ่มขึ้นของกระแสเงินทุนเก็งกำไร ซึ่งผู้เขียนบทความกลัวว่าจะทำให้สับสน เลยสลับด้านเพื่อความเข้าใจง่ายแทน) และลูกศรชี้ขวาคือเครื่องหมายเท่ากับ)
ตีความอย่างง่ายคือ ยิ่งตลาดเป็นใจเท่าไหร่ยิ่งเป็นการเพิ่มกระแสเงินเก็งกำไรเข้ามา และยิ่งเป็นการสร้างความแข็งแกร่งให้กับแนวโน้มยิ่งขึ้น
และหากอธิบายให้ละเอียดถึงห่วงโซ่ตรรกะเพิ่มเติมคือ
โอกาสของการกระตุ้นทางคลังในอนาคต+ความยาวของตลาดขาขึ้น+ความยาวของการที่ Fed คงดอกเบี้ยต่ำ+Valuationที่สูงที่สุดในประวัติศาสตร์และการเก็งกำไรที่เพิ่มขึ้น
=
โอกาสมากยิ่งขึ้นที่Fed จะปรับดอกเบี้ยขึ้นเร็วกว่าที่ตลาดคาด = ผลตอบแทนรวมที่มากขึ้นของนักลงทุน = เงินทุนเก็งกำไรไหลเข้ามากยิ่งขึ้น = ค่าเงินUSDและสินทรัพย์ยิ่งแข็งค่าขึ้น = โอกาสที่FED จะเป็นกังวลเกี่ยวกับฟองสบู่ในสินทรัพย์ต่างๆมากกว่าเป้าหมายเงินเฟ้อเดิมที่ยังคงต่ำอยู่เนื่องจากค่าเงินดอลลาที่แข็งขึ้น = วงจรการสะท้อนกลับ = ภาวะเศรษฐกิจแบบ goldilocks (ไม่ดีแต่ก็ไม่แย่ โตแต่เงินเฟ้อไม่ขึ้น) ในตลาดหลักๆช่วงสั้นๆ = วงจรที่ดีในระยะยาวแบบไม่มั่นคง
และประยุกต์ใช้กับส่วนประเทศพัฒนาแล้วอื่นๆได้ว่า
USDแข็ง=ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ลดลง=
เงินเฟ้อต่ำ+มูลค่า(Valuation)ต่ำ+เศรษฐกิจเติบโตช้า=
อัตราดอกเบี้ยที่ต่ำ(ประเทศที่เหลือ) ทำให้ส่วนต่างกับอัตราดอกเบี้ยของสหรัฐยิ่งกว้างขึ้น= USDแข็งขึน=วงจรที่การแข็งค่าของUSD

ทำให้ นึกถึงคำพูดของโซรอสที่ว่า
"ยิ่งวงจรอยู่นานเท่าใด ความน่าสนใจในการถือครองสินทรัพย์ที่สกุลเงินแข็งค่ายิ่งมากขึ้นเท่านั้น และอัตราแลกเปลี่ยนยิ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการคำนวณอัตราผลตอบแทนทั้งหมด ผู้คนที่มีแนวโน้มจะสวนเทรนด์มีสิทธิ์ที่จะถูกทำลาย(ตายไป)
มีแค่Trend Follow เท่านั้นที่อยู่รอดเช่นเดียวกับนักลงทุนแบบActive ยิ่งการเก็งกำไรสำคัญเท่าใด ปัจจัยอื่นๆยิ่งส่งผลน้อย ไม่มีอะไรที่จะชี้นำนักเก็งกำไรได้นอกจากตัวตลาดเองและตลาดนั้นก็เต็มไปด้วยTrend Follower"
และ
ที่ผ่านมานั้นทั้งในยุคของเรแกน และคลินตันได้มีวงจรลักษณะนี้เกิดขึนมาแล้ว ซึ่งเป็นไปในลักษณะที่ ดูเหมือนว่าตลาดจะมีการสะดุดจากการดีดกลับอย่างรุนแรง มีทั้งบูมและพังในหลายระดับ

ปัจจัยต่างๆสามารถที่จะส่งผลดีได้อย่างมากในระยะสั้นแต่เป็นอันตรายในระยะยาว

ข้อสรุปของผู้เขียนคือ
ถ้าเราต้องเลือก โดยต้องคงความสนใจไว้ที่ตลาดพัฒนาแล้วโดยเฉพาะสหรัฐ
เราควรมองหาหุ้นที่ได้รับผลดีจากการขึ้นดอกเบี้ยและราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่ไม่สูงมากนัก
เราต้องเลือกกลุ่มที่เหมาะกับการกระตุ้นหรือเพิ่มเงินหมุนเวียนของทรัมป์และให้ความสนใจเฉพาะในประเทศ
ซึ่งไม่ได้รับผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนที่สูงขึ้น
และแน่นอนLong USD ด้วย

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อมูลเพิ่มเติม YouTube : Forex : For = Foreign, Ex = Exchange : คลิปโดดเด่นปี 2561 https://bit.ly/2yOjZsS

YouTube : Forex : For = Foreign, Ex = Exchange : คลิปโดดเด่นปี 2560 https://bit.ly/2Akxvqp



กลุ่ม EAForLekLaakYaa :  https://www.facebook.com/groups/EAForLekLaakYaa/
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------