ฟังเรื่องข้าวอินทรีย์(เปิดลำโพงด้วยครับ):
http://www.organicricesingburi.blogspot.com
รายชื่อมูลสัตว์
|
ไนโตรเจน
|
ฟอสฟอรัส
|
โปแตสเซียม
|
ขี้วัว
|
0.32-1.2
|
0.21-0.39
|
0.16-3.10
|
ขี้หมู
|
0.6-2.2
|
0.23-0.46
|
0.44-1.33
|
ขี้ไก่
|
1.2-4.9
|
0.7-4.1
|
0.47-3.50
|
ขี้ค้างคาว
|
0.1-2.9
|
0.26-16.0
|
0.33-18.3
|
หน่วยของค่าดังกล่าว
คือ %/W (เปอร์เซ็นต์ต่อน้ำหนัก) ก็แสดงให้เห็นว่าสำหรับไนโตรเจนแล้วมีมากในขี้ไก่ ฟอสฟอรัสมีมากในขี้ค้างคาว และโปแตสเซียมก็มีมากในขี้ค้างคาวเช่นเดียวกันครับ
ขี้ไก่ ต้องหมัก ให้หายร้อนก่อนนะครับ
ก่อนจะเอาไปใช้งาน ขี้วัวทุ่ง ก็
ต้องหมัก เพื่อกำจัดเมล็ดวัชพืชครับ
ปุ๋ยขี้ไก่และขี้เป็ด
จะมีปริมาณธาตุอาหารสูงกว่าขี้หมู
และขี้หมูจะปริมาณธาตุอาหารสูงกว่าขี้วัว และขี้ควาย ปุ๋ยคอกใหม่ ๆ
จะมีปริมาณธาตุอาหารสูงกว่าปุ๋ยคอกที่เก่าและเก็บไว้นาน
ทั้งนี้เนื่องจากส่วนของปุ๋ยที่ละลายได้ง่ายจะถูกชะล้างออกไปหมด
บางส่วนก็กลายเป็นก๊าซสูญหายไป
มูลค้างคาวเขาว่าเป็นราชาแห่งปุ๋ย แต่มูลของมนุษย์น่าจะนับได้ว่าเป็นจักรพรรดิแห่งปุ๋ยเพราะมนุษย์
สวาปามทุกอย่าง หลากหลายกว่า สัตว์ใดๆทั้งปวงจริงเท็จประการใดมิทราบยังไม่เคยเห็นข้อมูล
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปแตสเซียม ในมูลมนุษย์เลยครับ
พิจารณาจากอาหารที่กิน
วัวกินหญ้าอย่างเดียว
หมูกินรำที่อุดมด้วยวิตามิน
ไก่กินเมล็ดข้าว เมล็ดพืช รำ แมลงและ พืชบางชนิด ช้างกินหญ้ากินใบไม้ ยกเว้นช้างเร่ร่อนอาจจะได้กินกล้วยบ้างหรือช้างป่าอาจจะได้กินสับปะรดช้างไม่เคี้ยวเอื้องมูลช้างจึงมีเนื้อหยาบไม่ละเอียดเหมือนมูลควายม้าก็ไม่เคี้ยวเอื้อง
มูล ละเอียดกว่ามูลช้างนิดหน่อย
A-100(เอ-ร้อย) (สำหรับฉีดพ่นบนเครื่องบินเล็กในต่างประเทศ)เป็นสารเสริมประสิทธิภาพที่เกาะติดและแทรกเข้าใบพืชทุกชนิด หรือ
ถ้าให้พูดให้เห็นภาพก็คือเหมือนกับเราเอาน้ำมันพืชหยดลงบนกระดาษ หรือ หยดน้ำลงใบบัวด้านนวลเแค่ไม้จิ้มฟันจุ่มมาดๆพอแล้วและเทียบเกรดกับยาจับใบ
บริษัทขายตรงในประเทศไทยที่ว่าแน่ๆ หรือถ้าอยากดูการทดลอง
คุณสมบัติและประโยชน์ :
ช่วยเสริมประสิทธิภาพให้กับสารกำจัดศัตรูพืช
และช่วยเร่งในการนำตัวยาเคมีให้ซึมแทรกเข้าสู่ต้นพืชได้รวดเร็ว
พืช : ทุกชนิด อัตราใช้
:3 ซีซี /น้ำ 20 ลิตร
ลักษณะสำคัญ
:ป็นสารประเภทไร้ประจุ (Non-Ion)ไม่ทำลายผิวพืช
ดูดซึมเร็วกว่าสารเสริมประสิทธิภาพทั่ว 5 เท่า
1.ประหยัดสารเคมีได้มาก
20-40%
2.พืชสามารถดูดซับธาตุอาหาร และสารเคมีต่างๆ ซึ่งนำไปใช้ประโยชน์ได้มากกว่าและช่วยเพิ่ม
ประสิทธิภาพการให้ปุ๋ยทางใบ, สารเคมีทำให้ผลผลิตดี
และมีคุณภาพ
3.ทำให้สารเคมีทั้งชนิดน้ำ, น้ำมันและผงผสมเข้ากันได้ดี
4.ช่วยให้สารเคมีที่ฉีดพ่น แผ่กระจายได้ทั่วถึงทำให้ประหยัดเวลา
และแรงงาน
5.ช่วยรักษาอุปกรณ์ที่ใช้ฉีดพ่น ไม่ให้อุดตัน
สินค้าทั่วไปในท้องตลาด
1.ต้นทุนการใช้สารเคมีสูง
2.พืชดูดซับธาตุอาหาร และสารเคมีต่างๆ ไปใช้ประโยชน์ได้น้อย
3.สารเคมีทั้งชนิดน้ำ, น้ำมันและผงผสมเข้ากันไม่ได้ดี
4.ต้องฉีดพ่นสารเคมีแช่นานๆ เพื่อให้แผ่กระจายได้ทั่วถึง ทำให้สิ้นเปลืองเวลา
5.บางครั้งทำให้อุปกรณ์ฉีดพ่นอุดตัน