วันพฤหัสบดีที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2559

บอกลาเอลนีโญไทยแล้งถึงกลางปี จับตาลานีญาปลายปีน้ำท่วมใหญ่

นับเป็นข่าวดีของปี 2559 ที่ ปรากฏการณ์เอลนีโญกำลังจะสิ้นสุดลงในช่วงครึ่งแรกของปี แน่นอนว่าปัญหาการขาดแคลนน้ำในหลายภูมิภาค รวมทั้งผลกระทบที่เกิดขึ้นกับภาคเกษตรจะค่อยๆ ทุเลาความรุนแรงลง

ทว่า ช่วงครึ่งปีหลังประเทศไทยจะเข้าสู่ปรากฏการณ์ ลานีญาเต็มรูปแบบ นั่นหมายความว่ามีแนวโน้มสูงที่จะต้องเผชิญกับฝนตกหนักรุนแรงได้

ปรากฏการณ์ เอลนีโญเสมือนเป็นคู่ตรงข้ามของปรากฏการณ์ ลานีญาโดยเอลนีโญจะทำให้อุณหภูมิของผิวมหาสมุทรแปซิฟิคบริเวณเส้นศูนย์สูตรร้อนขึ้น ขณะที่ลานีญาจะทำให้เย็นลง

ผลกระทบที่เกิดคืออากาศแปรปรวนแบบคู่ตรงข้าม เช่นเมื่อปรากฏการณ์เอลนีโญทำให้พื้นที่หนึ่งเกิดภัยแล้งหนัก ปรากฏการณ์ลานีญาก็จะทำให้พื้นที่นั้นเกิดภัยน้ำท่วมจากฝนตกหนักได้

หากย้อนกลับไปเมื่อวิกฤติอุทกภัยในปี 2554 จะพบว่าปรากฏการณ์ลานีญามีส่วนสำคัญในการทำให้ฝนตกหนักและยาวนานผิดปกติ น้ำจึงไหลบ่าทางจังหวัดภาคเหนือ ก่อนที่มวลน้ำจะไหลท่วมขังในกรุงเทพ (กทม.) เป็นเวลาหลายสัปดาห์ สร้างความเสียหายต่อเศรษฐกิจมากกว่า 1.425 แสนล้านบาท สายพานการผลิตของอุตสาหกรรมต่างๆ รวมทั้งยานยนต์และอุปกรณ์อิเล็คทรอนิคที่มีฐานการผลิตในประเทศไทยได้รับความเสียหายข้ามปี

ยังคงเป็นคำถามถึงการจัดการน้ำในขณะนั้นว่ามีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงไร เนื่องจากพบว่าเขื่อนภูมิพลมีการกักเก็บน้ำไว้เต็ม 100% ในช่วง 3 เดือนแรกของฤดูมรสุม เป็นผลให้เขื่อนไม่สามารถรับน้ำเพิ่มเติมได้ ทำให้ต้องมีการปล่อยน้ำออกมาจากเขื่อนในขณะที่ปริมาณน้ำฝนยังคงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ

วันอังคารที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2559

ปี2558(ค.ศ.2015)ภัยแล้งมาเยือนต่อเนื่องทั้งปี ปี2559(ค.ศ.2016)นี้คงแล้งต่อเนื่องในเขตพื้นที่ภาคกลาง

   ปี2558(ค.ศ.2015)ภัยแล้งมาเยือนต่อเนื่องทั้งปี  ปี2559(ค.ศ.2016)นี้คงแล้งต่อเนื่องในเขตพื้นที่ภาคกลาง   จากนาข้าว/อ้อย/มันสำปะหลัง หันมาปลูกพืชหลากหลายชนิดมาขึ้น ทำให้ความรู้ความเข้าใจพืชมีน้อย และปลูกได้ไม่เต็ม100%
วิธีคิดปลูกพืช  ดังนี้  จำแนกหมวดหมู่
1.พืชประธาน : จะปลูกอะไร ขายได้แน่นอนและมาก กำไรได้  1-3ชนิดเป็นต้น อาจจะขายได้ทุกวันหรือ 1เดือนขายได้
2.พืชรอง : ปลูกอย่างน้อย 2-5อย่าง จัดสรรการปลูกให้เหมาะสม  ขายได้ทุกวัน หรือ 2เดือนครั้ง
3.พืชเสริม : แซมระหว่างแถว ระหว่างต้น ระหว่างร่อง  ตามใจเจ้าของพื้นที่
หัวใจของการปลูกพืชในประเทศไทย
1.  น้ำมาจากไหน คลองชลประทานก็แห้ง   เหลือน้ำบาดาลตั้งแต่ความลึก 10เมตร ถึง 150เมตร  ใช้อะไรสูบขึ้นมา    เครื่องยนต์เบนซิน/ดีเซลฉุดปั๊มน้ำทั่วไป หรือ แผงโซล่าเซลล์เข้าปั๊มน้ำไฟ3เฟส
2.  ทิศทาง ลมผ่าน ช่องไฟของต้นพืช  มีผลต่อโรคและแมลง
3.  ทิศทาง แสงแดด  ช่องไฟระว่างต้นพืช  มีผลต่อการเจริญเติบโต

ใช้ปุ๋ย-ยา-อาหารเสริมพืช ปรึกษาเรา  คลิกที่นี่

วันจันทร์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2558

เทคนิคการใส่ปุ๋ยเคมีให้มะนาวดกและผลใหญ่,วิธีเร่งดอกมะนาวครับ - Pantip

www.0879181778.blogspot.com,ป.เคมีภัณฑ์ ณ.สิงห์บุรี


สัมภาษณ์ลูกค้าวัดคูเมืองใช้ยาแคงเกอร์และปุ๋ยเร่งให้ดกในมะนาว

ประโยชน์ของมะนาวนั้นมีมากมายไม่แพ้รสชาติที่เปรี้ยวปรี๊ด จี๊ดจ๊าด ซึ่งอยู่คู่คนไทยมานับตั้งแต่โบราณ

          เชื่อว่าหลาย ๆ คนคงจะชอบทานรสเปรี้ยวอย่างแน่นอน ซึ่งรสชาติเปรี้ยวเหล่านั้นก็มาจาก หลาย ๆ ที่มา เช่น มะขามเปียก มะกรูด กรดมะนาว น้ำส้มสายชู เป็นต้น แต่คงจะปฏิเสธไม่ได้ว่ารสชาติเปรี้ยวที่โดนใจคนไทยมากที่สุดนั้นก็คือรสชาติเปรี้ยวจากมะนาว ซึ่งนอกจากมะนาวจะให้รสชาติที่โดนใจคนมากมายแล้ว เจ้ามะนาวลูกกลม ๆ นี้ยังมีสรรพคุณทางยาและมีประโยชน์ต่อสุขภาพมากมาย วันนี้กระปุกดอทคอมจะขอพาทุกคนไปรู้จักกับมะนาวให้มากขึ้นกันนะคะ 

วันอังคารที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2558

กิจกรรมทางเฟสบุ๊ค "หญ้าในนาข้าว" ไม่ยอมตาย 20-50วัน

ติดตามข่าวสารหรือติดต่อสั่งซื้อ: https://www.facebook.com/chemicalsshop หรือ คลิกที่นี่เข้ากิจกรรมเฟสบุ๊ค  หรือ คลิกที่ไปด้านล่าง(ดูเว็ปผ่านคอมพิวเตอร์PCจะดีเยี่ยมที่สุด)



นวัตกรรมใหม่!!!สำหรับนาข้าวยุคปี2558
คุม-เลนแล้ว--- คุม-ฆ่าแล้ว--- หญ้าไม่ตายแน่ และเห็นหญ้าเมื่อ 25วัน ให้ใช้ยาแถวบ้านเกษตรกรไปก่อน 2-3ครั้ง ถ้าไม่ตาย หรือไม่ประทับใจ ถึงโทรมาปรึกษา หรือ สั่งชุด เด็ดหัว จากทางร้านไปใช้
ขอย้ำ 2-3 ครั้ง ค่อยโทรมาค่ะ ไม่ชอบคนถามเฉยแสดงว่า คุณคือร้านค้าลวงความลับเท่านั้น
****ฝนตกบ่อย ฉีดคุม-ฆ่าไม่ได้ มีวิธีแก้***     
มืออาชีพ.....ป.เคมีภัณฑ์ ณ.สิงห์บุรี โทร.087-9181778 รับกำจัดหญ้าวัชรพืชนาข้าวทุกชนิดตายสนิท........ ก่อนหน้ามาพบวิธีฉีดลุยน้ำ ท่านต้องโดน !!!มาแล้ว  ใส่ยาเยอะระดับ 70-100ซีซี----ข้าวตายแต่หญ้ารอด  หรือ ตายทั่งข้าวทั้งหญ้า ----ฝนตกครึ่งชั่วโมงไม่ได้ผล
ถ้าฉีดไม่เบื่อหรือยังไม่ครบ 2ครั้ง อย่าโทรมาน่ะ……หนูขายให้คนเดือดร้อนจริงๆเท่านั้นค่ะ
โดยที่ไม่ต้องปล่อยน้ำออก ฉีดได้มีน้ำ.......ประมาณ1ฝ่ามือ
      ส่วนใหญ่ข้าว15วันก็เริ่มใส่ปุ๋ยยูเรีย46-0-0 เสียด้วยซ้ำ  ( อุปสรรคมันเยอะ น้ำแห้งบ่อย ,ฉีดไม่ทั่ว ,ที่นาเอียงๆ,เจ้าของแปลงนาไม่เอาใจใส่)  ชุดปราบหญ้าที่ทางทีมงานทดลองแล้วประสบความสำเร็จเท่านั้น (ระวังข้าวตาย ข้าวแดง ข้าวงัน ถ้าคุณชาวนาทำนอกตำราที่ทีมงานทดลองมา)
***นาดำ / นาหว่าน ......ฉีดได้ทั้งหมด ****
>>ถ้าฉีดไม่เบื่อหรือยังไม่ครบ 2ครั้ง อย่าโทรมาน่ะ<<
เกษตรกรนาหว่านปกติใช้สารเคมี คุมเลนช่วง 0-4 วันด้วย สารเคมี เพรทิลาคลอร์ หรือ บิวทาคลอร์ ตามปกติ
คุม-ฆ่า ช่วง 10-15 วันด้วยสารเคมี โคลมาโซน+โพพานิล หรือ บิวทาคลอร์+โพพานิล ตามปกติที่เคยปฏิบัติกันมา  ปรากฏว่า  หญ้าไม่ตายเพราะฝนตกหลังฉีดสารเคมีเสร็จ 30 นาทีเอง กรรมๆ   (เสียยาฟรี)
**จำไว้น่ะ สไตล์เฉิน ถ้าไม่ลองจนแน่ใจ จะไม่โฆษณาไปวันๆ ***
         ทำแปลงทดลองก่อนขายจริง.....ตายค่อยซื้อกัน ---- 1 เดือนต่อ เราทำแปลงรอบๆร้าน ทั้งนาดำ นาหว่าน หญ้าทุกประเภทสีม่วงอ่อน ม่วงสะท้อนแสง ม่วงเขียวอมแดงประกายทองแดง .........ปรากฏว่า  ยาเคมีที่ใช้หลากหลายบริษัทเพื่อหาข้อสรุป(จะได้ไม่ต้องบ่นว่า จะตายเหรอ)  ฉะนั้นวันนี้เราขอประกาศว่า ประสบความสำเร็จ เก็บ---ฆ่าหญ้าอายุ 10-100 วันสำเร็จแล้ว
****บางแปลง หญ้าโดน สารเคมีมาสารพัด ดื้อๆ ****
ข้อบ่งใช้เพื่อประสิทธิภาพสูงสุด :
1. ควรฉีดพ่นA-100 ในช่วง ที่มีแดดจัด ( ช่วง 08.00 - 09.30 น. น้ำค้างแห้ง)
2. เหมาะสำหรับฉีดพ่นวัชพืชระยะช่วง10-20วันใช้งบน้อยกว่า ช่วง 30-100วัน หรือหลังวัชพืชงอก
3.สามารถฉีดพ่นA-100+ไกโฟเสต 48% ได้ในร่องสวนยางพารา หญ้าตามแปลงไร่มันสำปะหลัง หญ้าในไร่อ้อย หญ้าในไร่สับปะรด หญ้าตามหัวคันนา และหญ้าที่มีอยู่ทั่วไป
4. ควรเก็บผลิตภัณฑ์ A-100 ไว้ในที่ร่ม หลีกเลี่ยง ความร้อน และ แสงแดด จัด
      การจำแนกชนิดของวัชพืชนั้นมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะใช้วางแผนการป้องกันและกำจัดให้ถูกวิธีและถูกเวลา ทั้งนี้สามารถจำแนกวัชพืชเป็นประเภทต่างๆได้ดังนี้
        1.วัชพืชใบแคบ (หรือวัชพืชตระกูลหญ้า) เช่นหญ้าข้าวนก หญ้านกสีชมพู หญ้าแดง หญ้าดอกขาว
        2.วัชพืชใบกว้าง มีลักษณะเป็นพวกพืชใบเลี้ยงคู่ ใบกว้าง เช่น ผักปอดนา ผักบุ้ง เทียนนา
        3.วัชพืชตระกูลกก ลักษณะทรงต้นคล้ายหญ้า แต่ลำต้นไม่มีข้อ ไม่มีปล้อง ลำต้นเป็นหลอด หรือรูปสามเหลี่ยม ได้แก่ กกทราย กกสามเหลี่ยม กกขนาก หนวดปลาดุก
        4.วัชพืชประเภทเฟิร์น ไม่มีเมล็ด ขยายพันธุ์ด้วยส่วนของลำต้น และอับเรณู เช่น ผักแว่น ผักกูดนา
        5.วัชพืชประเภทสาหร่าย เป็นพืชชั้นต่ำ ราก ลำต้นและใบไม่แตกต่างกัน เช่น สาหร่ายไฟ        
        ชนิดของวัชพืชที่ชอบขึ้นในนาข้าวที่ปลูกด้วยวิธีต่างๆ
        -นาปักดำ : หญ้าข้าวนก ผักปอดนา ขาเขียด ผักตับเต่า เทียนนา กกทราย กกขนาก หนวดปลาดุก ผักแว่น สาหร่ายไฟ
        -นาหว่านน้ำตม : หญ้าข้าวนก หญ้านกสีชมพู หญ้าดอกขาว หญ้าแดง ผักปอดนา ขาเขียด กกทราย กกขนาก หนวดปลาดุก ผักแว่น
        -นาหว่านข้าวแห้ง : หญ้านกสีชมพู หญ้าดอกขาว หญ้าแดง หญ้าหางหมา หญ้ากุศลา ผักปราบนา ผักบุ้ง เซ่งใบยาว เซ่งใบมน โสน กกทราย กกขนาก หนวดปลาดุก
ระดับความเป็นพิษของสารกำจัดวัชพืช

        การใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชชนิดใดก็ตาม ผู้ใช้ต้องมีความระมัดระวังในระหว่างการใช้ฉีดพ่นสารเหล่านั้น เพราะสารแต่ละชนิดมีความเป็นพิษในระดับต่างๆกัน การจัดระดับความเป็นพิษของสารกำจัดวัชพืชซึ่งเป็นเคมีภัณฑ์ที่จำหน่ายในท้องตลาด สามารถสังเกตได้จากแถบสีที่ฉลากข้างขวด มีอยู่ด้วยกัน 4 สี
        
สีแดง     หมายถึง สารเคมีที่มีระดับความเป็นพิษ ร้ายแรง
        
สีเหลือง หมายถึง สารเคมีที่มีระดับความเป็นพิษ ปานกลาง
        
สีน้ำเงิน  หมายถึง สารเคมีที่มีระดับความเป็นพิษ น้อย

วันอังคารที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2558

ประสบการณ์ การปลูก และดูแลมะนาว แบบทีละขั้นตอน,เทคนิค การปลูกมะนาว ในบ่อซีเมนต์


www.0879181778.blogspot.com,ป.เคมีภัณฑ์ ณ.สิงห์บุรี,

มะนาวแป้นแค่6เดือนทำให้ออกลูกได้ - YouTube,เทคนิคการปลูกมะนาวในบ่อซีเมนต์,ปลูกมะนาวในกระถาง อยู่ได้นาน 5 ปี :เทคโนโลยีชาวบ้าน

,ปลูกมะนาว ในกระถางไม่ยากอย่างที่คิด - แต่งบ้าน - MThai.com,การปลูกมะนาวคาเวียร์ - จำหน่ายต้นมะนาวคาเวียร์ ๒๐ สายพันธุ์

,แก้ปัญหาโรคแคงเกอร์มะนาว‎,เทคนิคการใส่ปุ๋ยเคมีที่ใช้กับสวนมะนาว เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด

 ฉีกตำราทิ้ง แล้วเดินหน้าทดลองของจริงกันจะได้ทราบเรื่องจริงๆกัน(แฟร์ไหมไม่มีดร.)
ประสบการณ์ การปลูก และดูแลมะนาว แบบทีละขั้นตอน,เทคนิค การปลูกมะนาว ในบ่อซีเมนต์



วันพฤหัสบดีที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2558

วัชพืชในนาข้าว,หญ้าไม่ตายในนาข้าว ปรึกษาเราได้,รวยด้วยเกษตร กำจัดวัชพืชในนาข้าว - YouTube

วัชพืชในนาข้าว - สำนักวิจัยและพัฒนาข้าว,เทคนิคการลดปัญหาวัชพืชในนาข้าว,วัชพืชในนาข้าว,หญ้าไม่ตายในนาข้าว ปรึกษาเราได้,รวยด้วยเกษตร กำจัดวัชพืชในนาข้าว - YouTube
ชาวนาที่เคราพรักทุกท่าน-ทุกพื้นที่ จะประสบปัญหากำจัดหญ้า 20วันถึง 50วันมากที่สุดจากความไม่รู้
ฉีดครั้งที่ 1 ช่วง 10-15วัน หญ้าไม่ตาย-ข้าวตายดีจัง
ฉีดครั้งที่2 ช่วง 25-30วัน หญ้าตายบ้าง-ข้าวตายหย่อมๆ
ครั้งที่ 3 ท้อแท้ใจ เริ่มถามนาข้างๆ- เปิดอินเตอร์เน็ต
ถ้าท่านมีปัญหาเกี่ยวกับหญ้าในนาข้าวไม่ตาย กรุณาให้ข้อมูลแก่ทีมงาน เพื่อประเมิณราคาค่ากำจัดหญ้าแบบถูกต้อง-แม่นยำ(ระวังยาเคมีปลอม) ด้วยประสบการณ์ยาวนานถึง 5ปีเต็ม นำพาเกษตรกรสู่ทางสว่างและรอดปีละ 500รายทั่วประเทศไทย

โปรดให้ข้อมูลหญ้าในนาข้าวดังนี้
1.หว่านข้าววันที่          ตอบตามจริง.........................
 2.โดนสารเคมีอะไรมาบ้าง     ตอบตามจริง.........................
3.จะฉีดกี่ถัง25ลิตร         ตอบตามจริง.........................
 4.ชื่อหญ้าอะไรบ้าง        ตอบตามจริง.........................
สาเหตุหญ้าไม่ตาย
1.สารเคมีปลอม                    2.ใส่อัตราส่วนไม่สัมพันธ์กัน
3.วิเคราะห์ยาเคมีกับหญ้าผิด    4.ไม่ทราบทุกเรื่องๆๆๆๆๆๆๆ


หญ้านาข้าว,หญ้าไม่ตายในนาข้าว,หญ้าดื้อยา,หญ้าข้าวนก,หญ้ากระดูกไก่,หญ้าดอกขาว,หญ้าหนวดปลาดุก----หญ้าถ้าฉีดเกิน1ครั้งดื้อสุดไปเลย ระวัง!!!
^^ราคายาเคมี+ปริมาณยาเคมีตามอายุหญ้า(รู้ยัง)^^
ลำดับกลุ่ม
จำแนกหญ้าในนา
ค่าใช้จ่ายเบื้องต้น
การสิ้นชีพของหญ้า
1
-หญ้าข้าวนก
-หญ้ากระดูกไก่
ถังละ150บาทประเมินต่ำๆ
7-15วัน
2
-หญ้าดอกขาว
ถังละ100บาทประเมินต่ำๆ
7-15วัน
3
-หญ้าหนวดปลาดุก

ถังละ 20บาทประเมินต่ำๆ
2-7วัน