ติดตามข่าวสารหรือติดต่อสั่งซื้อ: https://www.facebook.com/chemicalsshop หรือ คลิกที่นี่เข้ากิจกรรมเฟสบุ๊ค หรือ คลิกที่ไปด้านล่าง(ดูเว็ปผ่านคอมพิวเตอร์PCจะดีเยี่ยมที่สุด)
นวัตกรรมใหม่!!!สำหรับนาข้าวยุคปี2558
คุม-เลนแล้ว--- คุม-ฆ่าแล้ว---
หญ้าไม่ตายแน่ และเห็นหญ้าเมื่อ 25วัน ให้ใช้ยาแถวบ้านเกษตรกรไปก่อน 2-3ครั้ง
ถ้าไม่ตาย หรือไม่ประทับใจ ถึงโทรมาปรึกษา หรือ สั่งชุด เด็ดหัว จากทางร้านไปใช้
ขอย้ำ 2-3 ครั้ง ค่อยโทรมาค่ะ
ไม่ชอบคนถามเฉยแสดงว่า
คุณคือร้านค้าลวงความลับเท่านั้น
****ฝนตกบ่อย ฉีดคุม-ฆ่าไม่ได้ มีวิธีแก้***
มืออาชีพ.....ป.เคมีภัณฑ์
ณ.สิงห์บุรี โทร.087-9181778 รับกำจัดหญ้าวัชรพืชนาข้าวทุกชนิดตายสนิท........ ก่อนหน้ามาพบวิธีฉีดลุยน้ำ
ท่านต้องโดน
!!!มาแล้ว ใส่ยาเยอะระดับ
70-100ซีซี----ข้าวตายแต่หญ้ารอด หรือ
ตายทั่งข้าวทั้งหญ้า ----ฝนตกครึ่งชั่วโมงไม่ได้ผล
ถ้าฉีดไม่เบื่อหรือยังไม่ครบ
2ครั้ง อย่าโทรมาน่ะ……หนูขายให้คนเดือดร้อนจริงๆเท่านั้นค่ะ
โดยที่ไม่ต้องปล่อยน้ำออก
ฉีดได้มีน้ำ.......ประมาณ1ฝ่ามือ
ส่วนใหญ่ข้าว15วันก็เริ่มใส่ปุ๋ยยูเรีย46-0-0 เสียด้วยซ้ำ ( อุปสรรคมันเยอะ น้ำแห้งบ่อย ,ฉีดไม่ทั่ว ,ที่นาเอียงๆ,เจ้าของแปลงนาไม่เอาใจใส่) ชุดปราบหญ้าที่ทางทีมงานทดลองแล้วประสบความสำเร็จเท่านั้น
(ระวังข้าวตาย ข้าวแดง
ข้าวงัน ถ้าคุณชาวนาทำนอกตำราที่ทีมงานทดลองมา)
***นาดำ / นาหว่าน ......ฉีดได้ทั้งหมด ****
>>ถ้าฉีดไม่เบื่อหรือยังไม่ครบ 2ครั้ง
อย่าโทรมาน่ะ<<
เกษตรกรนาหว่านปกติใช้สารเคมี “คุมเลน” ช่วง 0-4 วันด้วย
สารเคมี เพรทิลาคลอร์ หรือ บิวทาคลอร์ ตามปกติ
คุม-ฆ่า ช่วง 10-15 วันด้วยสารเคมี
โคลมาโซน+โพพานิล หรือ บิวทาคลอร์+โพพานิล ตามปกติที่เคยปฏิบัติกันมา ปรากฏว่า
หญ้าไม่ตายเพราะฝนตกหลังฉีดสารเคมีเสร็จ 30 นาทีเอง กรรมๆ (เสียยาฟรี)
**จำไว้น่ะ
สไตล์เฉิน ถ้าไม่ลองจนแน่ใจ จะไม่โฆษณาไปวันๆ ***
ทำแปลงทดลองก่อนขายจริง.....ตายค่อยซื้อกัน ---- 1 เดือนต่อ
เราทำแปลงรอบๆร้าน ทั้งนาดำ นาหว่าน หญ้าทุกประเภทสีม่วงอ่อน ม่วงสะท้อนแสง
ม่วงเขียวอมแดงประกายทองแดง .........ปรากฏว่า
ยาเคมีที่ใช้หลากหลายบริษัทเพื่อหาข้อสรุป(จะได้ไม่ต้องบ่นว่า จะตายเหรอ) ฉะนั้นวันนี้เราขอประกาศว่า ประสบความสำเร็จ
เก็บ---ฆ่าหญ้าอายุ 10-100 วันสำเร็จแล้ว
****บางแปลง หญ้าโดน สารเคมีมาสารพัด ดื้อๆ ****
ข้อบ่งใช้เพื่อประสิทธิภาพสูงสุด :
1.
ควรฉีดพ่นA-100 ในช่วง
ที่มีแดดจัด ( ช่วง 08.00 - 09.30 น. น้ำค้างแห้ง)
2.
เหมาะสำหรับฉีดพ่นวัชพืชระยะช่วง10-20วันใช้งบน้อยกว่า ช่วง 30-100วัน หรือหลังวัชพืชงอก
3.สามารถฉีดพ่นA-100+ไกโฟเสต 48% ได้ในร่องสวนยางพารา
หญ้าตามแปลงไร่มันสำปะหลัง หญ้าในไร่อ้อย หญ้าในไร่สับปะรด หญ้าตามหัวคันนา
และหญ้าที่มีอยู่ทั่วไป
4. ควรเก็บผลิตภัณฑ์
A-100 ไว้ในที่ร่ม
หลีกเลี่ยง ความร้อน และ แสงแดด จัด
การจำแนกชนิดของวัชพืชนั้นมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะใช้วางแผนการป้องกันและกำจัดให้ถูกวิธีและถูกเวลา
ทั้งนี้สามารถจำแนกวัชพืชเป็นประเภทต่างๆได้ดังนี้
1.วัชพืชใบแคบ (หรือวัชพืชตระกูลหญ้า)
เช่นหญ้าข้าวนก หญ้านกสีชมพู หญ้าแดง หญ้าดอกขาว
2.วัชพืชใบกว้าง มีลักษณะเป็นพวกพืชใบเลี้ยงคู่
ใบกว้าง เช่น ผักปอดนา ผักบุ้ง เทียนนา
3.วัชพืชตระกูลกก ลักษณะทรงต้นคล้ายหญ้า
แต่ลำต้นไม่มีข้อ ไม่มีปล้อง ลำต้นเป็นหลอด หรือรูปสามเหลี่ยม ได้แก่ กกทราย กกสามเหลี่ยม
กกขนาก หนวดปลาดุก
4.วัชพืชประเภทเฟิร์น ไม่มีเมล็ด ขยายพันธุ์ด้วยส่วนของลำต้น
และอับเรณู เช่น ผักแว่น ผักกูดนา
5.วัชพืชประเภทสาหร่าย เป็นพืชชั้นต่ำ
ราก ลำต้นและใบไม่แตกต่างกัน เช่น สาหร่ายไฟ
ชนิดของวัชพืชที่ชอบขึ้นในนาข้าวที่ปลูกด้วยวิธีต่างๆ
-นาปักดำ : หญ้าข้าวนก ผักปอดนา ขาเขียด
ผักตับเต่า เทียนนา กกทราย กกขนาก หนวดปลาดุก ผักแว่น สาหร่ายไฟ
-นาหว่านน้ำตม : หญ้าข้าวนก หญ้านกสีชมพู หญ้าดอกขาว หญ้าแดง ผักปอดนา ขาเขียด กกทราย
กกขนาก หนวดปลาดุก ผักแว่น
-นาหว่านข้าวแห้ง : หญ้านกสีชมพู หญ้าดอกขาว หญ้าแดง หญ้าหางหมา หญ้ากุศลา ผักปราบนา ผักบุ้ง
เซ่งใบยาว เซ่งใบมน โสน กกทราย กกขนาก หนวดปลาดุก
ระดับความเป็นพิษของสารกำจัดวัชพืช
การใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชชนิดใดก็ตาม ผู้ใช้ต้องมีความระมัดระวังในระหว่างการใช้ฉีดพ่นสารเหล่านั้น
เพราะสารแต่ละชนิดมีความเป็นพิษในระดับต่างๆกัน การจัดระดับความเป็นพิษของสารกำจัดวัชพืชซึ่งเป็นเคมีภัณฑ์ที่จำหน่ายในท้องตลาด
สามารถสังเกตได้จากแถบสีที่ฉลากข้างขวด มีอยู่ด้วยกัน 4 สี
สีแดง
หมายถึง สารเคมีที่มีระดับความเป็นพิษ ร้ายแรง
สีเหลือง หมายถึง
สารเคมีที่มีระดับความเป็นพิษ ปานกลาง
สีน้ำเงิน หมายถึง สารเคมีที่มีระดับความเป็นพิษ น้อย